อัตราภาษีตาม พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1) – จยย.- รถแทรกเตอร์ใช้เพื่อการเกษตร
เก๋งหรือกระบะ 4 ประตู เก็บตามความจุกระบอกสูบ (ซีซี) บาท
1. ความจุกระบอกสูบ
1.1 600 ซีซี ๆ ละ 0.50
1.2 601 – 1,800 ซี.ซี. ๆ ละ 1.50
1.3 เกิน 1,800 ซี.ซี. ๆ ละ 4.00
2. เป็นนิติบุคคลที่มิได้เป็นผู้ให้เช่าซื้อ 2 เท่า
3. เป็นรถเก่าใช้มานานเกิน 5 ปี ให้ลดภาษี ร้อยละ
3.1 ปีที่ 6 10
3.2 ปีที่ 7 20
3.3 ปีที่ 8 30
3.4 ปีที่ 9 40
3.5 ปีที่ 10 และปีต่อ ๆ ไป 50
4. รถที่เก็บเป็นคัน บาท
4.1 รถจักรยานยนต์ คันละ 100
4.2 รถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการเกษตร คันละ 50
4.3 รถบดถนน คันละ 200
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2) – รถพรบ.ขนส่ง (80-89) หรือ รถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า
น้ำหนักรถ(กก.) ภาษี(บาท)
ไม่เกิน 500 150
501 – 750 300
751 – 1,000 450
1,001 – 1,250 800
1,251 – 1,500 1,000
1,501 – 1,750 1,300
1,751 – 2,000 1,600
2,001 – 2,500 1,900
2,501 – 3,000 2,200
3,001 – 3,500 2,400
3,501 – 4,000 2,600
4,001 – 4,500 2,800
4,501 – 5,000 3,000
5,001 – 6,000 3,200
6,001 – 7,000 3,400
7001 ขึ้นไป 3,600
อัตราภาษี -กระบะ(รย.3) -รถแทรกเตอร์ที่มิได้ใช้ในการเกษตร -รถบรรทุกส่วนบุคคลรถลากจูงรถ
น้ำหนักรถ(กก.) ภาษี(บาท)
751 – 1,000 600
1,001 – 1,250 750
1,251 – 1,500 900
1,501 – 1,750 1,050
1,751 – 2,000 1,350
2,001 – 2,500 1,650
2,501 – 3,000 1,950
3,001 – 3,500 2,250
3,501 – 4,000 2,550
4,001 – 4,500 2,850
4,501 – 5,000 3,150
5,001 – 6,000 3,450
6,001 – 7,000 3,750
7,000  ขึ้นไป 4,050
นอกจากรถล้อยางกลวง เช่น ตีนตะขาบ เพิ่มอีก 1/2(จากราคาปกติ)
น้ำหนักรถยนต์(ป้ายเหลือง) จำนวนเงิน(บาท)
ตั้งแต่    1,001 – 1,250  กก.   900
ตั้งแต่    1,251 – 1,500  กก. 1,050
ตั้งแต่    1,501 – 1,750  กก. 1,350
ตั้งแต่    1,751 – 2,000  กก. 1,650
ตั้งแต่    2,001 – 2,500  กก. 1,950
ตั้งแต่    2,501 – 3,000  กก. 2,250
ตั้งแต่    3,001 – 3,500  กก. 2,540
ตั้งแต่    3,501 – 4,000  กก. 2,850
ตั้งแต่    4,001 – 4,500  กก. 3,150
ตั้งแต่    4,501 – 5,000  กก. 3,450
ตั้งแต่    5,001 – 6,000  กก. 3,750
ตั้งแต่    6,001 – 7,000  กก. 4,050
ตั้งแต่    7001 กก.ขึ้นไป 4,350
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1) ที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า (รถ EV)
น้ำหนักรถ(กก.) ภาษี(บาท)
ไม่เกิน 500 150
501 – 750 300
751 – 1,000 450
1,001 – 1,250 800
1,251 – 1,500 1000
1,501 – 1,750 1300
1,751 – 2,000 1600
2,001 – 2,500 1900
จัดเก็บภาษีเป็นรายคัน
ประเภทรถ บาท/คัน
จักรยานยนต์(ส่วนบุคคล/สาธารณะ) 100
รถพ่วงของรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล 50
รถพ่วงของรถจักรยานยนต์(ไม่ส่วนบุคคล) 100
รถบดถนน 200
รถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการเกษตร 50
รถโดยสารประจำทาง
น้ำหนักรถ(กก.) ภาษี(บาท)
ไม่เกิน 500 300
501 – 750 400
751 – 1,000 500
1,001 – 1,250 600
1,251 – 1,500 700
1,501 – 1,750 900
1,751 – 2,000 1,100
2,001 – 2,500 1,300
2,501 – 3,000 1,500
3,001 – 3,500 1,700
3,501 – 4,000 1,900
4,001 – 4,500 2,100
4,501 – 5,000 2,300
5,001 – 6,000 2,500
6,001 – 7,000 2,700
7001 ขึ้นไป 2,900
รถยนต์โดยสาร รับจ้างไม่ประจำทาง(30-39)
น้ำหนักรถ(กก.) ภาษี(บาท)
ไม่เกิน 500 450
501 – 750 600
751 – 1,000 750
1,001 – 1,250 900
1,251 – 1,500 1,050
1,501 – 1,750 1,350
1,751 – 2,000 1,650
2,001 – 2,500 1,950
2,501 – 3,000 2,250
3,001 – 3,500 2,550
3,501 – 4,000 2,850
4,001 – 4,500 3,150
4,501 – 5,000 3,450
5,001 – 6,000 3,750
6,001 – 7,000 4,050
7001 ขึ้นไป 4,350

หมายเหตุ

    • กรณี รถ EV 100% หรือรถไฟฟ้า เป็น รถ รย.2 รย.3 ภาษีจะลดลงกึ่งหนึ่งของภาษีปกติ
    • ส่วน รถ เบนซินสลับ CNG  ภาษีจะลดลง 25%
    • ถ้าภาษีขาดตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป คิดเงินเพิ่มร้อยละ 1 บาท/เดือน
      กรณีจำนวนวันไม่ครบเดือนคิด 1 เดือน

สอบถามเพิ่มเติม กรมการขนส่งทางบก โทร. 1584

สอบถามปัญหา
ส่งข้อความสอบถามด้านล่าง

ที่อยู่ :

139 ม.5 ต.นาโพธิ์ อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม 44130
Tel: 094-952-9562 Line id: 9562opad